วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558
คำถามท้าทายมนุษย์เงินเดือน
คำถามหนึ่งที่มนุษย์เงินเดือนควรถามตัวเองอย่างจริงจัง คือ "ถ้าห้ามทำงานกินเงินเดือน ชีวิตฉันจะทำมาหากินอะไรได้อีกบ้าง"
... ลองคิดถึงงานที่คุณอาจจะ "ยี้" ในแว้บแรก
... อย่าเพิ่งตัดทุกความเป็นไปได้
... อย่ามองข้ามงานที่ได้เงินน้อย หรือไร้เกียรติ
คุณอาจคิดถึงคนขายหมูปิ้งหน้าบูดๆ แถวบ้าน แล้วนึกไปว่าความจริงคุณสามารถขายสินค้าอย่างเดียวกัน และเอาชนะได้ด้วยหน้าตายิ้มแย้ม บางทีคุณอาจคิดถึงการรับซ่อมไฟฟ้าหรือประปาเล็กๆ น้อยๆ ตามบ้าน ... ความรู้ที่คนสมัยนี้ "ยอมจำนน" และยินดีจ่าย เพราะไม่มีปัญญาทำด้วยตัวเอง
หรือไม่ก็สอนพิเศษวิชาโปรดที่คุณเคยเก่งกาจสมัยเรียนก็ได้
แน่นอน ในวันที่ปราศจากแรงบีบคั้น คุณอาจเบะปากใส่บางอาชีพ เพราะคิดว่าตัวเองร่ำเรียนมาสูง แต่เชื่อผมเถอะว่าการ คิดถึงทุกความเป็นไปได้ เอาไว้ก่อน ไม่ใช่เรื่องเสียหาย อย่างน้อยคุณก็จะมีทางเลือกในชีวิตที่สุดหลากหลาย และถ้าสุดท้ายแล้วตัดสินใจว่าจะไม่ทำ มันก็เป็นการตัดสินใจของเรา พูดง่ายๆ ว่าเราเป็นคนบงการชีวิตตัวเอง
สำหรับคนที่ทำงานบริษัทใหญ่ๆ อาจคิดและบอกกับตัวเองว่า "รอดแล้ว" ... แต่สถานการณ์ในชีวิตสามารถเปลี่ยนแปลงไปได้เรื่อยๆ งานที่คิดว่ามั่นคง ก็ไม่มั่นคงมากไปกว่าตัวบริษัท สมมติว่าวันหนึ่งเกิดบริษัทซวนเซ เขาก็อาจจะต้องปลดคน หรือไม่ต้องซวนเซก็ได้ แค่มีการควบรวมกิจการ บริษัทแม่รายใหม่ก็อาจตัดสินใจเลิกจ้างคุณได้ง่ายๆ เหมือนกัน และถึงแม้จะได้เงินชดเชยมาบ้าง แต่การหางานใหม่เมื่ออายุมากขึ้นก็ไม่ใช่เรื่องง่าย
นั่นคือเหตุผลที่ผมตั้งคำถามนี้ และอยากให้ทุกท่านลองคิดและต่อยอดดูว่า ตัวเราสามารถทำอะไรได้บ้าง
หลังจากที่ตอบคำถามนี้ ท่านอาจประหลาดใจเมื่อเห็นว่าหนทางเลี้ยงชีพมันช่างกว้างใหญ่ไพศาลเหลือเกิน ไม่ได้จำกัดอยู่ในออฟฟิศแคบๆ แต่เพียงอย่างเดียว
และบางอาชีพนั้น เมื่อขยับขยายออกไป รายได้ของมันไม่เพียงแค่ทำให้คุณ "มีเงินใช้" แต่อาจถึงขั้น "รวย" ได้ด้วยซ้ำ
วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558
เงินปันผลของหุ้นเติบโต
ตำราทางการเงินมักบอกว่า บริษัทที่มีการเติบโตสูงๆ มีความจำเป็นต้องเอาเงินสดไปขยา ยกิจการ จึงจ่ายเงินปันผลน้อยหรือไม่จ่า ยเลย และการกระทำเช่นนั้นก็เป็นเรื่อ งที่ "สมเหตุสมผล" เสียด้วย
ดังนั้น นักลงทุนที่ซื้อหุ้นดังกล่าวจึง มัก "ไม่คาดหวัง" เงินปันผล และนั่นก็เป็นเหตุผลที่บริษัทเห ล่านี้เองก็ไม่คิดจะจ่ายเงินปัน ผลอย่างเป็นน้ำเป็นเนื้อด้วยเหม ือนกัน เรียกได้ว่าเป็นเหตุและผลที่วนล ูป สะท้อน...ซึ่งกันและกัน แล้วทุกคนก็แฮปปี้ (อันนี้ตำราไม่ได้บอก แต่ผมบอกเอง)
อย่างไรก็ตาม เมื่อการเติบโตเริ่มลดลง ตำราก็บอกว่าในที่สุดบริษัทจะหั นกลับมาจ่ายเงินปันผลในอัตราที่ สูงขึ้น ... แต่มันก็เป็นสิ่งที่ผมไม่เชื่อสักเท่าไหร่
ดังนั้น นักลงทุนที่ซื้อหุ้นดังกล่าวจึง
อย่างไรก็ตาม เมื่อการเติบโตเริ่มลดลง ตำราก็บอกว่าในที่สุดบริษัทจะหั
เสือปืน(ไม่)ไว
ความจริงแล้วการที่บริษัทโตเร็วและ "งก" เงินปันผล จะพลิกกลับมาเป็น เสือปืนไว ควักเงินปันผลจ่ายให้ผู้ถือหุ้นโครมๆ นั้นก็มีอยู่ แต่ก็คงไม่ง่ายนัก เพราะมันขัดกับบุคลิกและความเคยชินของผู้บริหาร
ประเด็นแรก ในมุมของฝ่ายบริหาร พวกเขาต้องการมีเงินสดติดกระเป๋
ประเด็นต่อมา คือ การเติบโตที่ดำเนินมาเป็นเวลาหล
ประเด็นสุดท้าย แม้ฝ่ายบริหารจะยอมรับกันเองภาย
อย่าลืมว่าหุ้นเติบโตจำนวนไม่น้
และยิ่งถ้าผู้บริหารเป็นผู้ถือห
พูดง่ายๆ ก็คือ มีความเป็นไปได้น้อยที่ สิงห์ปืนฝืด จะผันตัวมาเป็น เสือปืนไว
โดยทั่วไป Soft Landing เป็นคำที่ใช้ในเชิงเศรษฐศาสตร์มหภาค เมื่อภาครัฐพยายามชะลอเศรษฐกิจให้ลดความร้อนแรงลง แทนที่จะโตพรวดพราดเป็นฟองสบู่และจบลงด้วยการระเบิดออกเป็นเสี่ยงๆ แต่ในกรณีของหุ้นโตเร็วที่ค่อยๆ ลดการเติบโตลง พร้อมไปกับการจ่ายเงินปันผลในอัตราที่สูงขึ้น ผมคิดว่าคำนี้ก็น่าจะพอใช้ได้เหมือนกัน
Soft Landing
โดยทั่วไป Soft Landing เป็นคำที่ใช้ในเชิงเศรษฐศาสตร์มหภาค เมื่อภาครัฐพยายามชะลอเศรษฐกิจให้ลดความร้อนแรงลง แทนที่จะโตพรวดพราดเป็นฟองสบู่และจบลงด้วยการระเบิดออกเป็นเสี่ยงๆ แต่ในกรณีของหุ้นโตเร็วที่ค่อยๆ ลดการเติบโตลง พร้อมไปกับการจ่ายเงินปันผลในอัตราที่สูงขึ้น ผมคิดว่าคำนี้ก็น่าจะพอใช้ได้เหมือนกัน
อย่างไรก็ตาม โดยส่วนตัวผมไม่คิดว่า Soft Landing จะเกิดขึ้นง่ายๆ ในกรณีของหุ้นเติบโต และต่อให้ผู้บริหารเห็นแล้วว่าธ ุรกิจเริ่มตีบตัน ความเป็นไปได้ที่พวกเขาจะ "ปลิ้น" หอบเงินของบริษัทไปลงทุนสัพเพเห ระแบบทิ้งๆ ขว้างๆ ก็ยังมีมากกว่าการจ่ายปันผลคืนใ ห้กับผู้ถือหุ้น
ลองคิดดูก็ได้ว่าอะไรจะน่าอภิรมย์มากกว่ากัน ระหว่างการประกาศอย่างยิ่งใหญ่ว่าบริษัทกำลังจะ "ทุ่มเงิน" เพื่อเข้าลงทุนในธุรกิจใหม่ กับการประกาศว่าบริษัทจะเริ่มจ่ายเงินปันผลมากขึ้น เพราะกิจการกำลังจะเติบโตน้อยลง?!
เรื่องแบบนี้ตำราเรียนไม่มีเขียนไว้แน่ๆ นักลงทุนต้องคิดเอาเองครับ
เรื่องแบบนี้ตำราเรียนไม่มีเขียนไว้แน่ๆ นักลงทุนต้องคิดเอาเองครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)